บันทึกอนุทิน
วันอังคาร ที่ 16 กันยายน พ.ศ.2557
เวลา 08.30-12.20 น.
บทความของวันนี้
1.สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ
การสอนลูกให้เรียนรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่พ่อแม่สามารถสอนลูกได้ที่บ้านจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง โดยการสนทนา พูดคุย หรือตั้งคำถามจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง เช่น เมื่อเกิดฝนตก เมื่อเห็นรุ้งกินน้ำ เมื่อเกิดพายุหรือลมพัดทำให้ต้นไม้โค่นล้ม ภาวะโลกร้อน การสอนลูกให้รู้จักปรากฏการณ์ทางธรรมชาตินั้นพ่อแม่ควรเน้นให้เด็กเรียนรู้จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวัน เช่น การฝึกให้เด็กรู้จัดคัดแยกขยะ และรู้วิธีการทำลายขยะเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน
การสอนลูกให้เรียนรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่พ่อแม่สามารถสอนลูกได้ที่บ้านจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง โดยการสนทนา พูดคุย หรือตั้งคำถามจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง เช่น เมื่อเกิดฝนตก เมื่อเห็นรุ้งกินน้ำ เมื่อเกิดพายุหรือลมพัดทำให้ต้นไม้โค่นล้ม ภาวะโลกร้อน การสอนลูกให้รู้จักปรากฏการณ์ทางธรรมชาตินั้นพ่อแม่ควรเน้นให้เด็กเรียนรู้จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวัน เช่น การฝึกให้เด็กรู้จัดคัดแยกขยะ และรู้วิธีการทำลายขยะเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน
2.วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา เพราะเป็นวัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญา สูงที่สุดของชีวิต ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหา เหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็ก ได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว
เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา เพราะเป็นวัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญา สูงที่สุดของชีวิต ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหา เหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็ก ได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว
ความลับของแสง
ถ้ารอบๆตัวเราไม่มีแสงสว่าง เราก็จะไม่สามารถมองเห็นได้ แสงสว่างจึงเป็นสิ่งที่สำคัญกับตัวเรา เช่น ถ้าไฟดับ เพราะฝนตกหนักเราก็ต้องหาเทียนมาจุด เพื่อที่จะได้สว่างและทำให้เรามองเห็นได้ เป็นต้น แสงเป็นคลื่นชนิดหนึ่งเหมือนกับคลื่นในน้ำทะเล แต่จะเป็นคลื่นที่มีความยาวสั้นมาก นอกจากนี้แสงยังเคลื่อนที่ได้เร็วมาก ตั้ง 300,000 กิโลเมตร/วินาที เปรียบเท่ากับการวิ่งรอบโลก 7 รอบ ในเวลา 1 วินาที
การนำไปประยุกต์ใช้
การทดลอง
หากล่องใบใหญ่ที่มีฝาปิดมา 1 ใบ เจาะรูข้างกล่อง 1 รู แล้วนำของมาใส่ในกล่อง เช่น ตุ๊กตา และปิดฝากล่อง จากนั้นก็มองไปดูในรูที่เจาะไว้ (จะมืดสนิทมองไม่เห็นอะไร) ค่อยๆเปิดฝากล่องออกมองดูของที่อยู่ในกล่องผ่านรูที่เจาะ(จะมองเห็นของที่อยู่ในกล่อง)เจาะรูเพิ่มอีก 1 รู และนำไฟฉายส่องผ่านรูที่เจาะและมองอีกรูที่เหลือเราจะมองเห็นสิ่งของ
ประเมินตนเอง
การเดินทางของแสงเป็นเส้นตรง
-วัตถุแบบโปร่งใส แสงจะทะลุผ่านไปได้ แต่บางส่วนเท่านั้น เราจึงมองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ด้านหลังวัตถุโปร่งแสงได้ไม่ชัดเจน เช่น กระจกฝ่า และพลาสติกขุ่นๆ เป็นต้น
-วัตถุโปร่งใส จะเป็นวัตุที่แสงผ่านไปได้ทั้งหมดทำให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ข้างหลังได้ชัดเจน เช่น กระจกใส และพลาสติกใส
-วัตถุทึบแสง จะดูดกลืนแสงที่เหลือไว้และจะสะท้อนแสงที่เหลือเข้าสู่ตาเรา เช่น หิน ไม้ เหล็ก
การสะท้อนของแสง เมื่อแสงสะท้อนจากวัตถุต้องพุ่งไปยังทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางของแสงที่ส่องลงมาตลอด เพราะลำแสงที่สัมผัสกับพื้นผิวของวัตถุแล้วสะท้อนกลับนั้น จะเป็นมุมที่เท่ากันกับลำแสงที่ส่องลงมาเสมอ การสะท้อนของแสงนอกจากจะทำให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆ แล้วการสะท้อนแสงยังสามารถนำมามองหาวัตถุที่สามารถมองเห็นในที่สูงๆ ได้เพราะแสงสะท้อนจากกระจกทั้งสองบานมาเข้าสู่ตาเรา ทำให้เรามองเห็นของที่สูงๆ ได้นั้นเอง
กล่องคาไลโดสโคป(Kaleidoscope) คือ นำกระจก 3 บานมาประกบกันให้เป็นกระบอกทรง 3 ดหลี่ยม และก็นำมาส่องกับภาพจะเห็นภาพสะท้อนมากมาย ใช้หลักการสะท้อนของแสงและมุมประกอบของกระจก เมื่อแสงตกกระทบในทรงสามเหลี่ยมมันก็จะสะท้อนไปสะท้อนมา จึงทำให้เกิดภาพ
หลักการหักเหของแสง แสงเดินทางผ่านวัตถุหรือตัวกลางคนละชนิดกัน เลยทำให้เกิดูการหักเหของแสง การหักเหของแสงสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการประดิษฐ์เลนส์ที่ถูกทำหน้าโค้งนูนขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในการขยายภาพและยังใช้ในการรวมเส้นทางเดินของแสงได้ด้วยเลนส์นูน นอกจากจะรวมแสงได้แล้วยังสามารถจุดไฟได้ด้วย เพราะเมื่อเลนส์นูนรวมแสงเป็นจุดเดียวกันแล้วความนร้อนที่มาจากแสงก็จะรวมเป็นจุดเดียวดันด้วย ซึ่งความร้อนนั้นก็มากพอที่จะเผาไหม้กระดาษได้
เงา (Shade) เมื่อส่องกระทบกับวัตถุจะทำให้เกิดเงา แสงและเงาเป็นตัวกำหนดระดับของค่าน้ำหนัก ความเข้มของเงาจะขึ้นอยู่กับความเข้มของเแสง ในที่ที่มีแสงสว่างมาก เงาจะเข้มขึ้น และในที่ที่มีแสงสว่างน้อย เงาจะไม่ชัดเจน ในที่ที่ไม่มีแสงสว่างจะไม่มีเงา และเงาจะอยู่ในทางตรงข้ามกับแสงเสมอ ค่าน้ำหนักของแสงและเงานที่เกิดบนวัตถุ
การเดินทางของแสงเป็นเส้นตรง
-วัตถุแบบโปร่งใส แสงจะทะลุผ่านไปได้ แต่บางส่วนเท่านั้น เราจึงมองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ด้านหลังวัตถุโปร่งแสงได้ไม่ชัดเจน เช่น กระจกฝ่า และพลาสติกขุ่นๆ เป็นต้น
-วัตถุโปร่งใส จะเป็นวัตุที่แสงผ่านไปได้ทั้งหมดทำให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ข้างหลังได้ชัดเจน เช่น กระจกใส และพลาสติกใส
-วัตถุทึบแสง จะดูดกลืนแสงที่เหลือไว้และจะสะท้อนแสงที่เหลือเข้าสู่ตาเรา เช่น หิน ไม้ เหล็ก
การสะท้อนของแสง เมื่อแสงสะท้อนจากวัตถุต้องพุ่งไปยังทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางของแสงที่ส่องลงมาตลอด เพราะลำแสงที่สัมผัสกับพื้นผิวของวัตถุแล้วสะท้อนกลับนั้น จะเป็นมุมที่เท่ากันกับลำแสงที่ส่องลงมาเสมอ การสะท้อนของแสงนอกจากจะทำให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆ แล้วการสะท้อนแสงยังสามารถนำมามองหาวัตถุที่สามารถมองเห็นในที่สูงๆ ได้เพราะแสงสะท้อนจากกระจกทั้งสองบานมาเข้าสู่ตาเรา ทำให้เรามองเห็นของที่สูงๆ ได้นั้นเอง
กล่องคาไลโดสโคป(Kaleidoscope) คือ นำกระจก 3 บานมาประกบกันให้เป็นกระบอกทรง 3 ดหลี่ยม และก็นำมาส่องกับภาพจะเห็นภาพสะท้อนมากมาย ใช้หลักการสะท้อนของแสงและมุมประกอบของกระจก เมื่อแสงตกกระทบในทรงสามเหลี่ยมมันก็จะสะท้อนไปสะท้อนมา จึงทำให้เกิดภาพ
หลักการหักเหของแสง แสงเดินทางผ่านวัตถุหรือตัวกลางคนละชนิดกัน เลยทำให้เกิดูการหักเหของแสง การหักเหของแสงสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการประดิษฐ์เลนส์ที่ถูกทำหน้าโค้งนูนขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในการขยายภาพและยังใช้ในการรวมเส้นทางเดินของแสงได้ด้วยเลนส์นูน นอกจากจะรวมแสงได้แล้วยังสามารถจุดไฟได้ด้วย เพราะเมื่อเลนส์นูนรวมแสงเป็นจุดเดียวกันแล้วความนร้อนที่มาจากแสงก็จะรวมเป็นจุดเดียวดันด้วย ซึ่งความร้อนนั้นก็มากพอที่จะเผาไหม้กระดาษได้
เงา (Shade) เมื่อส่องกระทบกับวัตถุจะทำให้เกิดเงา แสงและเงาเป็นตัวกำหนดระดับของค่าน้ำหนัก ความเข้มของเงาจะขึ้นอยู่กับความเข้มของเแสง ในที่ที่มีแสงสว่างมาก เงาจะเข้มขึ้น และในที่ที่มีแสงสว่างน้อย เงาจะไม่ชัดเจน ในที่ที่ไม่มีแสงสว่างจะไม่มีเงา และเงาจะอยู่ในทางตรงข้ามกับแสงเสมอ ค่าน้ำหนักของแสงและเงานที่เกิดบนวัตถุ
รุ้งกินน้ำ (Rainbow) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งเกิดจากละอองน้ำในอากาศหักเหแสงอาทิตย์ทำให้เกิดแถบสเปกตรัมเป็นเส้นอาร์ควงกลมเหนือพื้นผิวโลก แสงอาทิตย์หรือรังสีที่ตามมองเห็น (Visible light) มีความยาวคลื่น 400 - 800 นาโนเมตร โดยที่แสงสีม่วงมีความยาวคลื่นสั้นที่สุดคือ 400 นาโนเมตร และแสงสีแดงมีความยาวคลื่นมากที่สุด ภายหลังฝนตกมักจะมีละอองน้ำหรือหยดน้ำเล็กๆ ลอยอยู่ในอากาศ จะทำหน้าที่เสมือนปริซึมหักเหแสงอาทิตย์ (White light) ให้แยกออกเป็นสเปกตรัม 7 สี ได้แก่ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง เมื่อรวมตัวเข้าด้วยกันแล้วจะกลายเป็นสีขาว แสงสีต่างๆ ก็เป็นตัวกลางสำคัญที่ทำให้เรามองเห็นวัตถุแสงมีแสงสีต่างๆด้วย เพราะวัตถุต่างๆมีในตัวของมัน ดังนั้นวัตถุแต่ล่ะชนิดก็จะมีความสามารถในการสะท้อนของแสงและการดูกลืนแสงของสีได้แตกต่างกัน เมื่อมีแสงมาตกกระทบกับวัตถุก็จะดูดกลืนแสงสีบางเอาไว้และสะท้อนแสงสีที่เป็นแสงสีเดียวกันกับวัตถุออกมา
การนำไปประยุกต์ใช้
-เราสามารถนำไปทดลองหรือเรื่องรู้ในสถานการณ์จริงได้ ทั้งยังสอนหรืออธิบายเรื่องความลับของแสง การเกิดธรรมชาติให้กับเด็กปฐมวัยได้
ประเมินตนเอง
-แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน และช่วยเพื่อนๆตอบคำถาม
ประเมินเพื่อน
-วันนี้เพื่อนช่วยกันตอบคำถามที่อาจารย์ถาม ได้เป็นอย่างดี และมีความสนใจในเนื้อหาวิชาที่เรียน
-วันนี้เพื่อนช่วยกันตอบคำถามที่อาจารย์ถาม ได้เป็นอย่างดี และมีความสนใจในเนื้อหาวิชาที่เรียน
ประเมินอาจารย์
-อาจารย์แต่งกายสะอาด เรียบร้อย และสอนได้เข้าใจมากขึ้นค่ะ มีเทคนิคและวิธีการสอนที่หลากหลาย ทำให้เข้าใจและเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้นค่ะ
-อาจารย์แต่งกายสะอาด เรียบร้อย และสอนได้เข้าใจมากขึ้นค่ะ มีเทคนิคและวิธีการสอนที่หลากหลาย ทำให้เข้าใจและเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้นค่ะ
ค้นคว้าเพิ่มเติม
-
-